ss

28 พ.ย. 2554

เปิดทางให้จักรยาน ตอนที่ 3

|0 ความคิดเห็น
เปิดทางให้จักรยาน ตอนที่ 3 เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก ไปไกลยิ่งกว่านั้น เขาไม่ได้คิดแต่ให้ผู้ขับรถยนต์ซึ่งถือว่าเป็นผู้ก่อมลภาวะและสภาพจราจรติดขัดเป็นผู้จ่ายต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและสังคม แต่ยังให้คุณค่าและราคาแก่ผู้รักษาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย โดยออกนโยบายให้ “เครดิตเขียว” แก่คนขี่จักรยาน สามารถสะสมไมล์จักรยานเป็นกองทุนลดคาร์บอนแก่เมืองได้ มีมิเตอร์อันเล็ก ๆ เป็นตัวเก็บและส่งข้อมูลเข้าส่วนกลาง ไมล์ที่สะสมได้จะถูกแปรเป็นงบประมาณพัฒนาสาธารณูปโภคแก่จักรยานและคนเดิน แต่ใช่ว่าทุกคนจะเห็นด้วยกับยุทธศาสตร์เปิดทางให้จักรยาน...[Readmore]

เปิดทางให้จักรยาน ตอนที่ 2

|0 ความคิดเห็น
เปิดทางให้จักรยาน ตอนที่ 2 เส้นทางขี่จักรยานสะดวกมีได้หลายรูปแบบ อาจจะเป็นทางจักรยานที่สร้างสำหรับจักรยานโดยเฉพาะแยกออกไปจากทางรถยนต์ หรือเป็นทางจักรยานที่ติดกับเลนรถยนต์วิ่ง ขีดเป็นเส้นบนพื้นถนนเดียวกัน หรือมีระดับต่างกับเลนถนน ไม่ก็เป็นเส้นทางถนนปรกติที่จักรยานใช้ร่วมกับรถยนต์ แต่มีจำนวนรถยนต์ไม่มากนักและรถวิ่งไม่เร็ว นั่นหมายความว่าต้องมีมาตรการ “สะกดรถให้สงบ” พูดอีกอย่างคือปรามรถยนต์ให้เชื่อง โดยจัดโซนควบคุมจำนวนและพฤติกรรมรถยนต์ วิธีการที่ใช้ก็มีตั้งแต่กำหนดความเร็ว...[Readmore]

เปิดทางให้จักรยาน ตอนที่ 1

|0 ความคิดเห็น
เปิดทางให้จักรยาน ตอนที่ 1 อุปสรรคแรกที่ปิดกั้นการใช้จักรยานเป็นอุปสรรค์ทางกายภาพ ถ้าเราย้อนกลับไปดูประวัติศาสตร์การใช้ถนนในเมืองต่าง ๆ ช่วง 150 ปีที่ผ่านมา จะพบว่าเดิมทีถนนเป็นพื้นที่ประกอบอาชีพและกิจกรรมที่หลากหลายมาก เป็นทั้งที่วิ่งเล่นของเด็ก ๆ ทั้งค้าขาย ขนของ และสัญจรไปมาหาสู่ ผู้ใช้ถนนจำนวนมากเป็นกรรมกรลากรถเข็นรถกระบะติดล้อรูปแบบต่าง แรก ๆ จักรยานและรถถีบสามล้อกับรถลาก รถเข็นและคนเดินก็ยังอยู่ร่วมกันได้ แต่เมื่อคนเข้ามาอยู่ในเมืองมากขึ้น...[Readmore]

เปิดใจและเปิดทาง บทเรียนต่างแดนสู่วิถีจักรยาน

|0 ความคิดเห็น
เปิดใจและเปิดทาง บทเรียนต่างแดนสู่วิถีจักรยาน แม้ว่าจักรยานปั่นสองล้อและรถยนต์หัวสูบเผาน้ำมันจะเริ่มผลิตขึ้นมาในเวลาไล่เลี่ยกันช่วงกลาง ๆ คริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ศตวรรษที่ 20 กลายเป็นศตวรรษแห่งรถยนต์ เมื่อ เฮนรี่ ฟอร์ด ปฏิวัติอุตสาหกรรมรถยนต์ให้ผลิตได้จำนวนมากในราคาถูกจนชนชั้นกลางทั่วไปสามารถซื้อใช้ได้ ด้วยความเร็วและความสะดวกสบายที่เหนือกว่า และขนาดใหญ่โตกินที่มากกว่า รถยนต์ขับเคลื่อนด้วยพลังน้ำมันจึงเบียดการเดินทางที่ขับเคลื่อนด้วยพลังขาทั้งพลังขาสัตว์และขาคนตกไปจากท้องถนน...[Readmore]

24 พ.ย. 2554

TDF เขาวัดระดับความยากเส้นทางขึ้นเขากันอย่างไร

|0 ความคิดเห็น
เพื่อน ๆ  ที่ติดตามดูการแข่งขัน Tour de France หรือการแข่งโปรทัวร์ต่าง ๆ มาหลายต่อหลายครั้ง เคยสงสัยกันไหมครับว่า ใน Stage ที่ปั่นขึ้นเขานั้น เค้าแบ่งความยากง่ายและความชันของภูเขาแต่ละแห่งไว้อย่างไร และหลายคนคงเคยได้ยินกันมาบ้างว่า Mountain stage ใน TDF โหดร้ายขนาดไหน แต่บางคนอาจจะยังไม่เข้าใจดีนัก ผมเลยขอสรุปให้เพื่อนๆได้อ่านก่อนครับ ความยากในการขึ้นเขา มักจะบอกเป็นหน่วยของเปอร์เซ็นความชัน (GR%) โดยมีสูตรคือ Percent of Grade = ( ความสูง...[Readmore]

ประวัติการกำเนิด เพาเวอร์บาร์ สิ่งที่หลายคนอยากรู้

|0 ความคิดเห็น
"เพาเวอร์์บาร์" คำ ๆ นี้ หลายท่านที่เป็นนักกีฬา ทั้งนักกีฬาจักรยาน และ นักกีฬาประเภทอื่น ๆ คงจะรู้จักกันเป็นอย่างดี และเคยใช้ เคยกินกันมานับไม่ถ้วน แต่ทราบหรือไม่ว่า เจ้าเพาเวอร์บาร์นี้ ถือกำเนิดขึ้นมาได้อย่างไร ต่อไปนี้เป็นประวัติการกำเนิดเจ้าเพาเวอร์บาร์ที่ว่านี้ครับ  กำเนิดแท่งเพาเวอร์บาร์ เมื่อปี ค.ศ. 1983 ในการแข่งขันวิ่งมาราธอนโอลิมปิค นักวิ่งมาราธอนชาวแคนาดาได้สูญเสียชัยชนะให้กับคู่แข่งไปอย่าง น่าเสียดาย ในระยะทางก่อนหน้าการเข้าเส้นชัยเพียงไม่กี่กิโลเมตร...[Readmore]

เมื่อเลิกขี่จักรยานแล้ว ให้ใส่เกียร์ว่าง

|0 ความคิดเห็น
สำหรับท่านที่ไม่ค่อยได้ปั่นจักรยานและจอดจักรยานไว้เฉยๆ ทำอย่างไรจักรยาน ของเราจะได้รับการพักผ่อนพร้อมเราไปด้วย วันนี้ผมจึงขอแนะนำวิธีพื้นฐานเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่จะเอาใจจักรยานแสนรักของเรายามที่ต้องจอดไว้นาน ๆ เมื่อเลิกขี่จักรยานแล้ว ก่อนจอด ควรยิงนิ้วชี้ที่ Shifter ทั้งซ้ายขวาจนหมด ปั่นเบาๆต่ออีกนิดเพื่อให้ทุกเกียร์เข้าที่แล้วค่อยจอด ณ ตำแหน่งเกียร์นี้ โซ่จะคล้องอยู่ระหว่างจานเล็กสุดกับเฟืองเล็กสุด (1-8 หรือ 1-9) ตีนผีจะอยู่ในตำแหน่งที่พับเก็บเรียบร้อยไม่กางออก ประโยชน์ -...[Readmore]

20 พ.ย. 2554

ไขปัญหาการขี่จักรยานกลางคืน ตอนที่ 2 (จบ)

|0 ความคิดเห็น
3.มีเทคนิคพิเศษอะไรแนะนำบ้างหรือเปล่าสำหรับการขี่กลางคืนขี่จักรยานตอนกลางวันมีเทคนิค กลางคืนก็ต้องมีเป็นธรรมดาซึ่งแบ่งเป็นข้อใหญ่ ๆ ได้สามหัวข้อ เริ่มแรกด้วยการเลือกเส้นทางที่คุ้นเคยจากตอนกลางวันเข้าไว้ก่อน พอคุ้นเคยแล้วถึงไม่มีไฟก็ยังนึกออก การทำความคุ้นเคยตั้งแต่กลางวันจะทำให้รู้ว่าตรงไหนต่างระดับหรือมีสิ่งกีดขวาง ถึงจะเหมือน ๆ กันแต่พอมืดลงแล้วต่างกันราวฟ้ากับเหว สายตาคุณจะไม่คุ้นเคยกับความมืดที่ถึงแม้จะมีไฟฉานส่องแล้วก็ยังทำให้เงาและมุมเหลี่ยมแตกต่างไป...[Readmore]

ไขปัญหาการขี่จักรยานกลางคืน ตอนที่ 1

|0 ความคิดเห็น
ในประเทศแถบตะวันตกที่หนาวเกือบตลอดปีนั้นแย่กว่าบ้านเรา เพราะทั้งปีอาจมีเวลาให้ขี่จักรยานนอกบ้านได้แค่ครึ่งหรือถ้าหนาวมาก ๆ อาจไม่ถึงครึ่งปีด้วยซ้ำ เขาต้องรอให้ถึงหน้าร้อนก่อน ถึงจะแห่กันออกมาซึ่งเป็นที่สนุกสนานทั้งเสือหมอบเสือภูเขาและจักรยานอื่น ๆ แต่บ้านเราถึงจะโชคดีกว่าตรงที่ขี่จักรยานได้ทั้งปีแต่ก็โชคร้ายกว่าตรงที่ร้อนนรก กลางวันอุณหภูมิเกือบ 40 องศาเซลเซียสกันทุกวัน สำหรับคนที่ไม่กลัวความมืดบางกลุ่ม การขี่จักรยานกลางคืนจึงเป็นทางเลือกเท่าที่เราเคยเห็นคือหลังอาทิตย์ตกดินจะมีนักจักรยานกลุ่มหนึ่ง...[Readmore]

สุดยอดจักรยานเสือภูเขา 2012 FUJI SLM 1.0

|0 ความคิดเห็น
สุดยอดจักรยานเสือภูเขา FUJI SLM 1.0 จากค่าย FUJI FUJI SLM 1.0 รุ่นปี 2012 มีการเปลี่ยนแปลงให้เห็นอย่างชัดเจนด้วยการขยับขนาดของล้อจาก 26 นิ้ว ขึ้นไปเป็น 29 นิ้วตามเทรนยอดฮิตอีกหนึ่งราย การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ไม่ใช่แค่ขนาดของล้ออย่างเดียว รูปทรงของเฟรมเองก็ได้เปลี่ยนไปด้วย จากสายเกียร์สายเบรกที่เดินไว้ด้านบนของท่อบน ย้ายเป็นร้อยสายเกียร์เข้าตัวถัง สายเบรกหลังเดินใต้ท่อบน จากท่อที่กลมเกือบทั้งหมดมารุ่นปี 2012 นี้หายไปแล้ว เดิมที่ท่อบนกลมตรงเป็นท่อรีเสริมเหลี่ยมแอ่นกลาง...[Readmore]

15 พ.ย. 2554

เสือภูเขา BMC Teamelite TEO1

|6 ความคิดเห็น
จักรยานเสือภูเขา BMC Teamelite TEO1 จากการที่ Cadel Evans คว้าแชมป์ Tour de France 2011 ทำให้จักรยาน BMC เป็นที่จับตามองมากขึ้น ก่อนหน้านี้ไม่มีผู้นำเข้ามาจำหน่ายอย่างเป็นทางการ แบรนด์นี้จึงไม่ค่อยได้เห็นบ่อยนักในบ้านเรา มาตอนนี้มีผู้นำเข้ามาแล้วทั้งเสือหมอบและเสือภูเขา ด้วยรูปทรงการออกแบบท่อบนและท่อนั่งที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่ซ้ำใครถึงแม้ BMC จะสร้างชื่อมาจากจักรยานประเภทถนน แต่ก็ไม่ได้ทิ้งจักรยานเสือภูเขา ยังพัฒนาอยู่อย่างต่อเนื่องด้วยท่อที่มีขนาดใหญ่จากทางหัวไล่เรียวไปหนาท่อนั่ง...[Readmore]

14 พ.ย. 2554

จักรยานเสือหมอบ COLNAGO C59 แบรนด์ดังจากอิตาลี่

|1 ความคิดเห็น
จักรยานเสือหมอบ COLNAGO C59 แบรนด์ดังจากอิตาลี่ Colnago หากนึกถึงประเทศผู้ผลิตจักรยานแบรนด์ชั้นนำ ดินแดนรองเท้าบูต (ประเทศอิตาลี่) คงเป็นชื่อต้น ๆ ที่นึกถึง โดยประเทศนี้ล้วนมีต้นกำเนินแบรนด์ดัง ๆ ไว้หลายแบรนด์ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือ แบรนด์ Colnago ซึ่ง Thomas Voeckler จากทีม EUROPCAR ได้ใช้สู้ศึกในรายการ Tour de France 2011 ที่ผ่านมานี้ แถมเข้ายังได้ครองเสื้อเหลืองได้นานที่สุดด้วย สำหรับรุ่นที่เขาใช้ในการแข่งขันในครั้งนั้น เป็นจักรยานรุ่นท๊อปสุดที่มีชื่อว่า...[Readmore]

จักรยานเสือหมอบ Cerve’lo S5

|0 ความคิดเห็น
จักรยานเสือหมอบ Cerve’lo S5 Cerve’lo ชื่อนี้คอจักรยานเสือหมอบตัวจริงเสียงจริงคงไม่มีใครไม่รู้จัก ซึ่งรุ่นท๊อปสุดของ Cevero คือ Series R ที่เป็นจักรยานเสือหมอบ Racing ขนานแท้และ Series S เป็นรถกึ่ง Racing กับ Time Trial ที่เน้นออกไปทางแนวทำความเร็ว และ Series P ที่เป็นจักรยาน Time Trial แต่ Series และรุ่นที่ใหม่สุดในขณะนี้ ซึ่งกำลังเป็นที่จับตามองในต่างแดนคือ Series S5 ที่อยู่ระหว่าง Series R กับ Series P ตัวเฟรมเป็นการพัฒนามาจาก S3 ออกมาให้มีความ...[Readmore]

11 พ.ย. 2554

โภชนาการหลังการปั่นจักรยาน ตอนที่ 2 (จบ)

|0 ความคิดเห็น
โภชนาการหลังการปั่นจักรยาน ตอนที่ 2 (จบ) การฟื้นสภาพนั้นจริง ๆ แล้วไม่ต้องการคาร์โบไฮเดรตให้มากนักคือประมาณว่าสามถึงห้ากรัมต่อน้ำหนักตัวครึ่งกิโลกรัมต่อวัน ถ้ามากกว่านี้มันจะไม่ไปช่วยอัตราการสังเคราะห์ไกลโคเจน จงจำไว้ว่าคุณยิ่งกินคาร์โบไฮเดรตก็ยิ่งต้องลดปริมาณไขมันหรือโปรตีนหรือทั้งคู่ มิฉะนั้นจะน้ำหนักเพิ่มเอาง่าย ๆ จึงดีที่สุดหากจะใช้สารอาหารแต่ละมื้อมีปริมาณดังนี้คือ คาร์โบไฮเดรต 60 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 25 เปอร์เซ็นต์ และโปรตีนอีก 15 เปอร์เซ็นต์ การกินโดยเฉพาะอาหารให้คาร์โบไฮเดรตซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานได้ในภายหลัง...[Readmore]

โภชนาการหลังการปั่นจักรยาน ตอนที่ 1

|0 ความคิดเห็น
โภชนาการหลังการปั่นจักรยาน ตอนที่ 1 ในการขี่จักรยานไกลแต่ละครั้งส่วนใหญ่เรามักจะให้ความสำคัญต่อการกินก่อนปั่น แต่มีน้อยมากที่ให้ความสำคัญต่อการกินหลังปั่นมากไปกว่ากินแค่ให้อิ่ม  การปั่นกันทีละหลายสิบหรือบางครั้งเป็นร้อย ๆ กิโลเมตร กับเวลาอีกสามสี่ชั่วโมงนั้นต้องให้ความสำคัญต่อการฟื้นตัวน้อย ปัจจัยที่จะช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็วและดีคือ อาหารและโภชนาการที่ถูกหลัก ลำพังแค่น้ำไม่ใช่สารอาหารอย่างเดียวที่ร่างกายเสียไประหว่างออกกำลังหนักและต่อเนื่อง ที่เสียไปพร้อมกันคือเกลือแร่และไกลโคเจนที่จะถูกนำมาใช้เป็นพลังงาน เมื่อเราเสียอะไร...[Readmore]
Pages (30)123456 »

บทความจักรยานที่เกี่ยวข้อง